เป้าหมาย (Understanding Goal):
ความรู้: เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการจัดการชุดข้อมูลต่างๆและมีวิธีการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ทักษะ: การแสวงข้อมูล / การคิด/จัดการข้อมูล / การนำเสนอ
คุณลักษณะ: มีเป้าหมายในการเรียนรู้ / แรงบันดาลใจ / เอื้อเฟื้อข้อมูล

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557

Main


Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)



คำถามหลัก (Big Question) : การจัดการชุดความรู้มีความสำคัญและจำเป็นอย่างไร ?                                      
ภูมิหลังของปัญหา: ในยุคปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสาร หลายคนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว มีหลากหลายช่องทางมากกว่าในอดีต แต่ข้อมูลที่หลากหลายนั้นก็แฝงมาด้วยข้อมูลที่จริงและเท็จอีกด้วย การมีวิจารณญาณของผู้รับสารและผู้ส่งสาร แหล่งที่มา ความถูกต้องของเนื้อหา ซึ่งเราไม่สามารถเชื่อถือได้เต็ม 100% เป็นเพราะข้อมูลต่างๆ นั้น ทุกคนสามารถเข้าถึงได้และสามารถคัดลอกข้อมูลต่างๆ กันได้  ความรู้ที่หลากหลายแขนงก็เช่นกัน ทุกคนสามารถเก็บเกี่ยวแต่ละชุดความรู้มาสร้างความเข้าใจเองได้ง่ายจากช่องทางต่างๆ ที่เข้าถึงได้ง่าย เช่น ผ่านสื่อออนไลน์ หนังสือ ฯลฯ แต่ข้อมูลที่หลากหลายนั้น หากขาดการจัดการชุดความรู้แล้วนั้น ก็อาจจะเป็นเพียงตัวความรู้ที่เป็นเพียงก้อนๆ ขาดการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระรวมกัน เพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้
   ดังนั้นการจัดการชุดความรู้นั้นจึงเป็นเรื่องที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่ครูจะนำมาสอนนักเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ก่อนออกไปเผชิญสู่โลกที่กว้างขึ้น เผชิญกับปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น พวกเขาจะได้ใช้ทักษะการจัดการข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัญหาได้ในสถานการณ์ต่างๆ 


ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : “การจัดการชุดความรู้ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

Week
Input
Process
Output
Outcome
11

โจทย์ : ทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ ใน Quarter 3
Key Questions :
- ใน Quarter ที่ผ่านมานักเรียนเรียนเนื้อหาใดบ้าง/อย่างไร?
- นักเรียนจะนำเสนอชุดความรู้ใน Quarter ที่ผ่านมาอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Show and Share
- Blackboard Share
- Wall Thinking
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แบบทดสอบ Pre O-net
- อุปกรณ์ในการเล่นเกม
- Internet /  สี / ปากกา / กระดาษ
- นักเรียนเล่นเกมบันใดงูศาสนา
- นักเรียนเล่นเกมปริศนาศาสนา
- นักเรียนเล่นเกมแท็กซี่วิทยาศาสตร์
- นักเรียนเล่นเกมไขรหัสลับธนาคาร
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันถึงความเข้าใจที่ได้จากการเล่นเกม
- นักเรียนทำแบบทดสอบ( Pre O-net ) วิทยาศาสตร์และสังคม
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจากแบบทดสอบ
- นักเรียนสรุปการเรียนร้ายสัปดาห์
ภาระงาน
- การเล่นเกมบันใดงูศาสนา
- การเล่นเกมปริศนาศาสนา
- การเล่นเกมแท็กซี่วิทยาศาสตร์
- การเล่นเกมไขรหัสลับธนาคาร
- การอภิปรายร่วมกันถึงความเข้าใจที่ได้จากการเล่นเกม
- การทำแบบทดสอ( Pre O net ) วิทยาศาสตร์และสังคม
- การอภิปรายร่วมกันจากแบบทดสอบ
- การสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกความเข้าใจจากการเล่นเกมและอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงเนื้อหาสาระที่เรียนใน Quarter ที่ผ่านมาได้
ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 


Week
Input
Process
Output
Outcome
12


โจทย์ : เรื่องราวในอดีต
Key Questions :
- เราเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไปเพื่ออะไร?
- เชื่อได้อย่างไรว่าประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีตคือเหตุการณ์จริง?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin 
- Place mat
- Show and Share
- Blackboard Share
- Wall Thinking
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป VDO ประวัติศาสตร์
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ


- ครูพานักเรียนดูคลิป VDO ประวัติศาสตร์

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป VDO ผ่านเครื่องมือคิด Place mat
- นักเรียนนำเสนอ Place mat
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาข้อมูลจากชุดคำถามต่อไปนี้ “คนไทยคือใคร มาจากไหน?” / “จากมนุษย์ถ้ำ มาจนถึงมนุษย์ในสมัยปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?” / “เหตุการณ์ในอดีตส่งผลถึงปัจจุบันอย่างไร?” / การเปลี่ยนแปลงของแต่ละยุคสมัยส่งผลต่อพัฒนาการของมนุษยชาติอย่างไร?” / เราเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่ออะไร?” / จริงหรือ? ประวัติศาสตร์ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจนถึงปัจจุบัน?” / ”เชื่อได้อย่างไรว่าประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในอดีตคือเหตุการณ์จริง?”
- นักเรียนนำเสนอข้อมูลและอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนจัดการความรู้ความเข้าใจลงในกระดาษA4
- นักเรียนแลกเปลี่ยนกันถึงสิ่งที่เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การดูคลิป VDO ประวัติศาสตร์
- การวิเคราะห์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป VDO
- การศึกษาข้อมูลจากชุดคำถาม
- การแลกเปลี่ยนและอภิปรายร่วมกันถึงข้อมูลทางประวัติศาสตร์
- การจัดการชุดความรู้ความเข้าใจลงในกระดาษA4
- การแลกเปลี่ยนกันถึงสิ่งที่เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Place mat วิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป VDO
- สมุดบันทึกในการค้นคว้าข้อมูล
- จัดการชุดความรู้ความเข้าใจลงในกระดาษA4
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจความเป็นมาทางประวัติศาสตร์และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างไม่โน้มเอียง
ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 

Week
Input
Process
Output
Outcome
13

โจทย์ : สงครามโลกครั้งที่1
Key Questions :
- เหตุการณ์ในอดีตส่งผลต่อปัจจุบันอย่างไร ?
- เพราะเหตุใดสงครามจึงส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงจากอดีตมาถึงปัจจุบัน?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Show and Share
- Blackboard Share
- Wall Thinking
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
- สารคดี สงครามโลกครั้งที่1
- แอนนิเมชัน สงครามโลกครั้งที่1

- นักเรียนดูสารคดี สงครามโลกครั้งที่ 1

- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียน ดูแอนนิเมชัน สงครามโลกครั้งที่1

(https://www.youtube.com/watch?v=1HRNW_8RW1I)
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่1 และนำเสนอให้ครูและเพื่อนฟังพร้อมทั้งจัดลำดับเรื่องราวเป็น Timeline ผ่านเครื่องมือคิด Black Board Share
- นักเรียนจัดทำการ์ตูนหรือนิทาน สงครามโลกครั้งที่ 1
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การดูสารคดีและแอนนิเมชัน สงครามโลกครั้งที่ 1
- การอภิปรายร่วมกัน
- การจดบันทึกสรุปความเข้าใจขณะที่เพื่อนนำเสนอ
- การทำการ์ตูนหรือนิทาน สงครามโลกครั้งที่ 1
ชิ้นงาน
- Timeline สงครามโลกครั้งที่ 1
- การ์ตูนหรือนิทาน สงครามโลกครั้งที่ 1
- สมุดบันทึกขณะที่เพื่อนนำเสนอ

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้

เข้าใจเหตุการณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 1 และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ได้อย่างไม่โน้มเอียง

ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 
Week
Input
Process
Output
Outcome
14

โจทย์ : โจทย์ : สงครามโลกครั้งที่2
Key Questions :
- เพราะเหตุใดสงครามจึงส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงจากอดีตมาถึงปัจจุบัน?
- ความงดงามที่เกิดขึ้นภายใต้ภัยสงครามเป็นไปอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin:
- Show and Share
- Blackboard Share
- Wall Thinking
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
- คลิป VDO สงครามโลกครั้งที่ 2
- ภาพยนตร์เกี่ยวกับสงคราม

- นักเรียนดูคลิป VDO สงครามโลกครั้งที่ 2

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ3คน เพื่อดูภาพยนตร์

- นักเรียนแบ่งกลุ่มสิ่งที่ได้เรียนรู้จากภาพยนตร์ผ่านเครื่องมือคิด Place mat
- นักเรียนนำเสนอ Place mat พร้อมทั้งอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนอ่านบทความ สงครามโลกครั้งที่ 2
- นักเรียนจัดทำ Timeline สงครามโลกครั้งที่ 2
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การดูคลิป VDO สงครามโลกครั้งที่ 2
- การทำ Place matสิ่งที่ได้เรียนรู้จากภาพยนตร์
- การจดบันทึกสรุปความเข้าใจขณะที่เพื่อนนำเสนอ
- การอ่านบทความ สงครามโลกครั้งที่ 2
- การจัดทำ Timeline สงครามโลกครั้งที่ 2
- การสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Place mat สิ่งที่ได้เรียนรู้จากภาพยนตร์
- สมุดบันทึกขณะที่เพื่อนนำเสนอ
- Timeline สงครามโลกครั้งที่ 2
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้

เข้าใจเหตุการณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 2 และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ได้อย่างไม่โน้มเอียง

ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 

Week
Input
Process
Output
Outcome
15


โจทย์ : สยามในอดีตประเทศไทยในปัจจุบัน
Key Question :
- ประเทศไทยเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นประเทศไทยในปัจจุบัน ?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Show and Share
- Blackboard Share
- Wall Thinking
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู / นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
- คลิป VDO ประวัติศาสตร์ไทย
- คลิป VDO “จดหมายเหตุกรุงเสีย
- นักเรียนดูคลิป VDO ประวัติศาสตร์ไทย

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สงครามโลกทั้งสองครั้งมีความเกี่ยวเนื่องกับประเทศไทยอย่างไร?”
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลจากคำถาม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูล
- ครูให้นักเรียนดูคลิป VDO “จดหมายเหตุกรุงเสีย”
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “เราเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่ออะไร?” / “ จริงหรือ? ประวัติศาสตร์ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจนถึงปัจจุบัน?”
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนจัดการชุดความรู้ลงในกระดาษ A4
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การดูคลิป VDO และอภิปรายร่วมกัน
- การศึกษาข้อมูลจากคำถาม
- การดูคลิป VDO “จดหมายเหตุกรุงเสีย”
- การจัดการชุดความรู้ลงในกระดาษ A4
ชิ้นงาน
- จัดการชุดความรู้ลงในกระดาษ A4
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้

เข้าใจประวัติศาสตร์และเรื่องราวความเป็นมาของประเทศไทยและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ได้อย่างไม่โน้มเอียง

ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 


Week
Input
Process
Output
Outcome
16-17


โจทย์ : เศรษฐศาสตร์
 Key Questions :
- เราจะจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างไร เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าสูงสุด?
- ถ้าทรัพยากรมีอย่างจำกัด แต่ความต้องการของมนุษย์มีไม่จำกัด มนุษย์จะมีวิธีจัดสรรทรัพยากรอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Chart and Chart
- Place mat
- Show and Share:
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
- อุปกรณ์ในการเล่นเกม
- นักเรียนเล่นเกมไพ่ขายผลไม้
- นักเรียนวิเคราะห์ปัญหาจากการเลี้ยงไก่ใน2 Quarter ที่ผ่านมา (Chart and Chart)
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาพร้อมทั้งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อหาแนวทางแก้ไขและออกแบบการจัดการ กระบวนการของโครงการระยะยาว
- นักเรียนนำเสนอโครงการ
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์จากคำถาม(Place mat)
“ถ้าทรัพยากรมีอย่างจำกัด แต่ความต้องการของมนุษย์มีไม่จำกัด มนุษย์จะมีวิธีจัดสรรทรัพยากรอย่างไร?” / “ ถ้าไม่มีระบบเงินตรา สังคมจะเป็นอย่างไร? “การที่เราตีค่าทรัพยากรในเชิงคุณค่าหรือมูลค่า ส่งผลต่อการจัดสรรทรัพยากรเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?” / “เราจะจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างไร เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าสูงสุด?
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- การเล่นเกมไผ่ขายผลไม้
- การวิเคราะห์ปัญหาจากการเลี้ยงไก่ใน3 Quarter ที่ผ่านมา
- การออกแบบโครงการจัดกระบวนการโครงการระยะยาว
- การนำเสนอโครงการ
- การแลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชาร์ตกระบวนการของโครงการระยะยาว
- Place mat
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค  การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า  รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง  เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 



Week
Input
Process
Output
Outcome
18 -19


โจทย์ : ตกตระกอนความเข้าใจ
Key Question :
นักเรียนจะประมวนผลความเข้าใจหน่วย “การจัดการชุดความรู้” อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู / นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ

- นักเรียนทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในหน่วยการจัดการชุดความรู้ทั้งหมดผ่านเครื่องมือคิด Round Robin และ Black Board Share
- นักเรียนทำแบ่งกลุ่ม Place mat เนื้อหาที่ตนเองมีความเข้าใจมากที่สุด
- นักเรียนศึกษาข้อมูลในเนื้อหาที่ตนเองยังมีความเข้าใจที่ไม่ชัดเจน พร้อมทั้งทำ Short note เพื่อสรุปความเข้าใจ
- นักเรียนทำแบบทดสอบแต่ละเนื้อหา(อย่างละเอียด)
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในหน่วยการจัดการชุดความรู้ทั้งหมด
- การทำแบ่งกลุ่ม Place mat เนื้อหาที่ตนเองมีความเข้าใจมากที่สุด
- การศึกษาข้อมูลในเนื้อหาที่ตนเองยังตกหล่นพร้อมทั้งทำ Short note เพื่อสรุปความเข้าใจ
- การทำแบบทดสอบแต่ละเนื้อหา(อย่างละเอียด)
ชิ้นงาน
- Place mat เนื้อหาที่ตนเองมีความเข้าใจมากที่สุด
- Short note เนื้อหาที่ตนเองยังมีความเข้าใจที่ไม่ชัดเจน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
มีเป้าหมายในการเรียนรู้เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการจัดการชุดข้อมูลต่างๆพร้อมทั้งสามารถนำเสนอความเข้าใจได้ด้วยวิธีการของตนเอง
ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 


Week
Input
Process
Output
Outcome
20


โจทย์ : สรุปองค์ความรู้ หน่วย “การจัดการชุดความรู้”
Key Questions :
-  นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarterนี้?
- นักเรียนจะจัดการความรู้ใน หน่วย “การจัดการชุดความรู้”อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู / นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ

- นักเรียนคิดว่าการถ่ายทอดความรู้ที่ดีและเกิดประโยชน์สูงสุดควรจะเป็นอย่างไร?”
- ร่วมแสดงความคิดเห็นของตนเองให้เพื่อนและครูฟังได้ร่วมรับฟังและแสดงความคิดเห็น
นักเรียนแต่ละคนนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter 4/58 มาลำดับความสำคัญและจัดระบบข้อมูลเพื่อใช้ในการนำเสนอ
- จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบการนำเสนอที่น่าสนใจ อาทิเช่น สารคดีสั้น Clip  VDO ชาร์ตภาพเรื่องราว ฯลฯ
นำเสนอความคืบหน้าของงานตนเอง โดยให้เพื่อนและครูร่วมนำเสนอความคิดเห็น เพื่อเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ
- อภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากรู้
-  สรุปองค์ความรู้หลังเรียน Quarter 4/58 
- ประเมินตนเองพร้อมทั้งเขียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
การแลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนมาทั้ง Quarter
- การเขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนา
- การนำเสนอความเข้าใจ ผ่านละคร ,คลิปฯลฯ
การตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ละคร ,คลิปฯลฯ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
มีเป้าหมายในการเรียนรู้เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการจัดการชุดข้อมูลต่างๆพร้อมทั้งสามารถนำเสนอความเข้าใจได้ด้วยวิธีการของตนเอง
ทักษะ:
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะ ICT
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย การจัดการชุดความรู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 Quarter 4 ปีการศึกษา 2558


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
1.2
2.1
2.2
4.1
4.2
5.1
8.1
วิทยาศาสตร์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
-โรคทางพันธุกรรม
หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA)
ความหลากหลายทางชีวภาพ


สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซม
ที่มีหน่วยพันธุกรรม  หรือยีนในนิวเคลียส
(ว1.2 ม.3/1)

สำรวจระบบนิเวศต่างๆ ในท้องถิ่นและอธิบาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ (ว2.1ม.3/1)

- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม  ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น และเสนอแนวทางในการ แก้ไขปัญหา (ว2.2 ม.3/1)

- อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่ทำต่อวัตถุ
(4.1 ม.3/1)
- ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา ระหว่างวัตถุ  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(4.1 ม.3/2)

- ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(4.2 ม.3/1)


- อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว5.1 ม.3/1)
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปร
ที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ  ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้
(ว8.1 ม.3/1)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
1.2
2.1
2.2
4.1
4.2
5.1
8.1
วิทยาศาสตร์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
-โรคทางพันธุกรรม
หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA)ความหลากหลายทางชีวภาพ
- กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)
- แรงลัพธ์
- แรงเสียดทาน
- แรงพยุง
 - อธิบายความสำคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอและกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
(ว1.2 ม.3/2)
อภิปรายโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว1.2 ม.3/3)

อธิบาย วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรคาร์บอน และความสำคัญที่มีต่อระบบนิเวศ
(ว2.1 ม.3/2)
อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร  ในระบบนิเวศ
(ว2.1 ม.3/3)

- วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ  ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(ว2.2 ม.3/2)
- อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อม และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
(2.2 ม.3/3)
- อภิปราย และมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์    สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (ว2.2 ม.3/4)

- ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทำต่อวัตถุ
 (ว4.1 ม.3/3)
- ทดลองและวิเคราะห์โมเมนต์ของแรง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
 (4.2 ม.3/2)
 -  สังเกต และอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็น    แนวตรง และแนวโค้ง
(ว4.2 ม.3/3)
- อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว5.1 ม.3/1)
- สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี(ว8.1 ม.3/2)
- เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบ
ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
(ว8.1 ม.3/3)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
1.2
2.1
2.2
8.1
วิทยาศาสตร์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
-โรคทางพันธุกรรม
หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA)ความหลากหลายทางชีวภาพ
- กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)
- แรงลัพธ์
- แรงเสียดทาน
- แรงพยุง
สำรวจและอธิบายความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ในท้องถิ่น
ที่ทำให้สิ่งมีชีวิต ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล (ว1.2ม.3/4)
อธิบายผลของความ
- หลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ สัตว์  พืช และสิ่งแวดล้อม
(ว1.2 ม.3/5)
วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
(ว2.1 ม.3/4)

- อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ (ว2.2 ม.3/5)
- อภิปรายการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน(2.2 ม.3/6)
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ(ว8.1 ม.3/4)
- วิเคราะห์และประเมิน ความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ(ว8.1 ม.3/5)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
8.1
วิทยาศาสตร์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
-โรคทางพันธุกรรม
หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
- กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)
- แรงลัพธ์
- แรงเสียดทาน
- แรงพยุง
- สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ  ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ
(ว8.1 ม.3/6)
- สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้  ในสถานการณ์ใหม่ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1 ม.3/7)
- อธิบายผลการสังเกตการสำรวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ   ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ  เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม (ว8.1 ม.3/8)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1 ม.3/9)
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ  ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้ (ว8.1 ม.3/1)
- สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี (ว8.1 ม.3/2)
- เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม (ว8.1 ม.3/3)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
2.2
3.1
3.2
  สังคมศึกษา
- ระบบการปกครอง
- หน้าที่พลเมือง
 -  อธิบายระบอบ การปกครอง แบบต่าง ๆ ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน (ส2..2 ม.3/1)
- วิเคราะห์เปรียบเทียบระบอบ การปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ 
 ที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
(ส2..2 ม.3/2)
- วิเคราะห์รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันในมาตราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (ส2..2 ม.3/3)
- วิเคราะห์ประเด็นปัญหา   ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข (ส2..2 ม.3/4)
- อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
(3.1 ม.3/1)
- มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น (ส3.1  ม.3/2)
- อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ(3.2   ม.3/1)
- แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีต่อบุคคล กลุ่มคนและประเทศชาติ (ส3.2   ม.3/2)
- อภิปรายบทบาทความสำคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (ส3.2   ม.3/3)
อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด(3.2   ม.3/4)
- วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางแก้ปัญหา(3.2   ม.3/5)
- วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ( ส3.2   ม.3/6)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
4.1
4.3
    ประวัติศาสตร์
- ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์
- ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์

- ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ (ส4.1  ม.3/1)
- วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส4.1  ม.3/2)
- เห็นความสำคัญของการตีความ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่น่าเชื่อถือ (ส4.2  ม.3/3)
วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์  ในด้านต่างๆ
 (ส4.3  ม.3/1)
วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(ส4.3  ม.3/2)
- วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพล   ต่อการพัฒนาชาติไทย (ส4.3  ม.3/3)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
1.1
2.1
สุขศึกษาและพลศึกษา
- การส่งเสริมสุขภาพ
- อิทธิพลความคาดหวังต่อสังคมต่อการเปลี่ยนแปลง
- สื่อโฆษณา
- การวางแผนการดำเนินชีวิต
- เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา  แต่ละช่วงของชีวิต
(1.1 ม.3/1)
วิเคราะห์อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น (พ1.1 ม.3/2)
-วิเคราะห์ สื่อ  โฆษณา  ที่มีอิทธิพล ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น  (พ1.1 ม.3/3)
- อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว และวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม(พ2.1 ม.3/1)
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ  การตั้งครรภ์ (พ2.1 ม.3/2)
- วิเคราะห์สาเหตุ  และเสนอแนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว (พ2.1 ม.3/3)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
3.1
3.2
4.1
สุขศึกษาและพลศึกษา
- การเล่นเกมและกีฬาที่ถูกต้องตามกฎกติกา
- วางแผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพ
เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล  ได้อย่างละ ๑ ชนิดโดยใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม (พ3.1 ม.3/1)
-นำหลักการ  ความรู้และทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย  การเล่นเกม     และการเล่นกีฬาไปใช้สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  เป็นระบบ
(พ3.1 ม.3/2)
-ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1กิจกรรม  และนำหลักความรู้วิธีการไปขยายผลการเรียนรู้ให้กับผู้อื่น
(พ3.1 ม.3/3)
- มีมารยาทในการเล่นและดูกีฬาด้วยความมีน้ำใจนักกีฬา (พ3.2 ม.3/1)
- ออกกำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอและนำแนวคิดหลักการจากการเล่นไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนด้วยความภาคภูมิใจ
 (พ3.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติตนตามกฎ  กติกา  และข้อตกลง  ในการเล่นตามชนิดกีฬาที่เลือกและนำแนวคิด ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสังคมจำแนกกลวิธีการรุก  (พ3.2 ม.3/3)
 - การป้องกัน  และใช้ในการเล่นกีฬาที่เลือกและตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมกับทีมไปใช้ได้ตามสถานการณ์  ของการเล่น
 (พ3.2 ม.3/4)
- เสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกกำลังกาย และการเล่นกีฬาเป็นประจำ (พ3.2 ม.3/5)
- วางแผนและจัดเวลา ในการ ออกกำลังกาย  การพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพ    ทางกาย
(4.1 ม.3/1)
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย  และพัฒนาได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล (พ4.1 ม.3/2)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
1.1
1.2
2.1
3.1
3.2
ศิลปศึกษา
- ทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
- ดนตรี
- นาฏศิลป์
 - บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ
(ศ1.1 ม.3/1)
- ระบุ และบรรยายเทคนิค  วิธีการของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์
(ศ1.1 ม.3/2)
-. วิเคราะห์ และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้างงาน   ทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ
(ศ1.1 ม.3/3)

- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์
(ศ1.2 ม.3/1)
ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
- เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล(ศ1.2 ม.3/2)
- เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น  (ศ2.1 ม.3/1)
- ร้องเพลง  เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียง
(ศ2.1 ม.3/2)
- แต่งเพลงสั้น ๆจังหวะง่าย ๆ(ศ2.1 ม.3/3)
- อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง(ศ2.1 ม.3/4)
- ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร
 (ศ3.1 ม.3/1)
-ใช้นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชีวิต ประจำวันและในการแสดง(ศ3.1 ม.3/2)
- มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง(ศ3.1 ม.3/3)
- มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง
(ศ3.1 ม.3/4)
- ออกแบบ และสร้างสรรค์อุปกรณ์ และเครื่องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์และการละครที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
(3.2 ม.3/1)
- อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิตประจำวัน
 (ศ3.2 ม.3/2)
- แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์ (ศ3.2 ม.3/3)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
1.1
2.1
3.1
ศิลปศึกษา
- ทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
- ดนตรี
- นาฏศิลป์
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓  ประเภท (ศ1.1 ม.3/4)
- มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ (ศ1.1 ม.3/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ (ศ1.1 ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ (ศ1.1 ม.3/7)
วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน (ศ1.1 ม.3/8)
-สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยาย     เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย
(1.1 ม.3/9)
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อื่น 
(ศ2.1 ม.3/5)               
- อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม (ศ2.1 ม.3/6)
-นำเสนอ หรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม โดยการ บูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ(ศ2.1 ม.3/7)
- วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์
(ศ3.1 ม.3/5)
- ร่วมจัดงานการแสดง ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ
(ศ3.1 ม.3/6)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่อง ของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน (ศ3.1 ม.3/7)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
1.1
3.1
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- ขั้นตอนการสร้างชิ้นงาน
- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ(ง1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม(ง1.1 ม.3/2)
- อภิปรายการทำงานโดยใช้ทักษะ การจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม (ง1.1 ม.3/3)
-ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำใน (ง3.1 ม.3/1)
ชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
 (ง3.1 ม.3/2)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

หน้าที่พลเมือง
- สามารถแสดงออก แนะนำผู้อื่น และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อ
 เผื่อแผ่ และ เสียสละ (1.1 ม.3/2)
- ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี-ประชาธิปไตย  (3.1 ม.3/6)
- มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ ในการตัดสินใจตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบ การทำหน้าที่ของบุคคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ (3.2 ม.3/7)
- เห็นคุณค่า ของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกัน
และกัน (4.1 ม.3/8)